วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

การอ้างเหตุผล

1.   1. การอ้างเหตุผลประกอบด้วยส่วนสาคัญสองส่วน คือ 1. เหตุหรือส่งที่กาหนดให้ ได้แก่ ข้อความ 1,2,…,푃푛 2. ผล ได้แก่ ข้อความ C การอ้างเหตุผลอาจจะสมเหตุสมผลหรือไม่สมเหตุสมผลก็ได้ แต่สามารถตรวจสอบ ได้ว่าการอ้างเหตุผลนั้นสมเหตุสมผลหรือไม่ โดยใช้ (1)ตัวเชื่อม เชื่อมเหตุเข้าด้วยกันทั้งหมด (2) ตัวเชื่อม เชื่อมส่วนที่เป็นเหตุกับผล (12푃푛)→เป็นสัจนิรันดร์จะกล่าวว่าการอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล (12푃푛)→ไม่เป็นสัจนิรันดร์จะกล่าวว่าการอ้างเหตุผลนี้ ไม่สมเหตุสมผลอ่านเพิ่มเติม


การไม่เท่ากัน

  การเปรียบเทียบจำนวนสองจำนวนว่ามากกว่าหรือน้อยกว่าได้ โดยเขียนอยู่ในรูปประโยคสัญลักษณ์ เช่น n แทนจำนวนเต็ม
      n >  5 
หมายถึง จำนวนเต็มทุกจำนวนที่มากกว่า 5 เช่น 6 ,7 ,8 ,...
      n ≤ 1  
หมายถึง จำวนเต็มทุกจำนวนที่น้อยกว่าหรือเทท่ากับ 1 เช่น 1  ,0 ,-1 ,-2, ...
     n =
 4 หมายถึง จำนวนทุกจำนวนที่ไม่เท่ากับ 4 เช่น ... ,- 2 ,-1 ,0 ,1 ,2 ,3 ,5 ,6 ,...อ่านเพิ่มเติม


สมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง

สมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง
 
 
     กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
 
     1. สมบัติการสะท้อน a = a
 
     2. สมบัติการสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a
 
     3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c
 
     4. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน  ถ้า a = b แล้ว a + c = b + cอ่านเพิ่มเติม

จำนวนจริง

4.1จำนวนจริง
เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่
- เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I
                   I = {1,2,3…}
เซตของจำนวนเต็มลบ  เขียนแทนด้วย  I
เซตของจำนวนเต็ม เขียนแทนด้วย I
                   I = { …,-3,-2,-1,0,1,2,3…}
เซตของจำนวนตรรกยะ เซตของจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน      โดยที่ a,เป็นจำนวนเต็ม  และ b = 0อ่านเพิ่มเติม


การให้เหตุผลแบบนิรนัย

 การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด
               ตัวอย่างที่ 1      เหตุ   1.สัตว์เลี้ยงทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้าย
                                                     2. แมวทุกตัวเป็นสัตว์เลี้ยง
                                            ผล     แมวทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้ายอ่านเพิ่มเติม



การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ แต่ละเหตุมารวมกัน เพื่อนำไปสู่ผลสรุปเป็นกรณีทั่วไป เช่นตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัยอ่านเพิ่มเติม
       

ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต

ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต เป็นส่วนหนึ่งของการกระทำระหว่างเซต เรานิยมเขียนออกมาในสองรูปแบบด้วยกันคือแบบสมการ และแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ เราลองมาดูกันครับว่ายูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต เป็นอย่างไรพร้อมตัวอย่างอ่านเพิ่มเติม